น้ำตาล” ในเครื่องดื่ม “หวาน” แค่ไหนถึงจะไม่เสี่ยง “เบาหวาน-อ้วน”

น้ำตาล” ในเครื่องดื่ม “หวาน” แค่ไหนถึงจะไม่เสี่ยง “เบาหวาน-อ้วน”
อ้างอิง อ่าน 157 ครั้ง / ตอบ 0 ครั้ง

ritcha
เมื่อชีวิตติดหวาน น้ำหนักเกินาตรฐานเอย พุงย้อย ๆ ขาใหญ่ ๆ เอย และโรคต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน และอื่น ๆ ก็ค่อย ๆ ทยอยตามมา แต่เมื่อเราหลงรักเครื่องดื่มอร่อย ๆ จนอาจเรียกได้ว่าไม่มีเธอไม่ได้ ขาดเธอเหมือนขาดใจ เราจะเลือกเครื่องดื่มอย่างไรให้ไม่อันตรายกับร่างกายในอนาคตทำไมเราต้อง “ลดหวาน” ในเครื่องดื่ม ?พญ.พรรณพิมล วิปุสากร อธิบดีกรมอนามัย ระบุว่า โดยเฉลี่ยในแต่ละวัน คนไทยดื่มเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลเฉลี่ยกว่า 3 แก้ว หรือ 519.3 มิลลิลิตร ผู้ชายดื่มมากกว่าผู้หญิง และพบว่าในกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปี เป็น กลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลเฉลี่ยต่อสัปดาห์มากที่สุดนอกจากนี้เครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลที่วางจำหน่ายในประเทศไทย พบมีปริมาณน้ำตาลสูงมาก เฉลี่ย 9-19 กรัม/100มิลลิลิตร ในขณะที่ปริมาณที่เหมาะสม คือ ไม่ควรมีน้ำตาลมากกว่า 6 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร เพราะจะเพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน และโรคติดต่อเรื้อรังได้ในระยะยาว เช่น เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด และฟันผุ เป็นต้นกินผัก ลดเสี่ยงฟันผุทันตแพทย์หญิงปิยะดา ประเสิรฐสม ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข กล่าวว่า น้ำตาลเป็นแหล่งอาหารชั้นดีของแบคทีเรียในการผลิตกรดที่ทำลายผิวฟันจนลุกลามไปเรื่อย ๆ หากไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเน้นบริโภคผักหรือผลไม้ที่มีเส้นใยเซลลูโลส เพราะมีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งการเคี้ยวเส้นใยจะช่วยกระตุ้นให้มีน้ำลายมากขึ้น สามารถเจือจางสภาพความเป็นกรดได้เป็นอย่างดี รวมทั้งอาหารกลุ่มโปรตีน เช่น ถั่วต่าง ๆ นมที่มีแคลเซียม และฟอสเฟตสูงวิธี “ลดหวาน” ในเครื่องดื่มอ่านเพิ่มเติม>>slotxo  
 
ritcha [email protected] [84.17.36.xxx] เมื่อ 25/02/2020 11:33
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
รูปประกอบความคิดเห็น :
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
อีเมล์ :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :